รายวิชานี้ครอบคลุมถึงวิธีการพื้นฐานของการวิเคราะห์สถิตยศาสตร์ และความเสียหายจากการล้าที่สามารถนำไปใช้กับชิ้นส่วนทางวิศวกรรมที่หลากหลาย การทบทบวนถึงคุณสมบัติของวัสดุที่สำคัญในการออกแบบ เช่นความเครียดและความแข็งแรง การฝึกปฏิบัติด้านการทดสอบวัสดุ เช่นการทดสอบแรงดึง การทดสอบแรงบิด การทดสอบความล้า และการทดสอบความคืบ การนำทฤษฏีด้านสถิตยศาสตร์ เช่นทฤษฏีของ von Mises ไปใช้ในการป้องกันความเสียหายในการกระทำที่เป็นแรงแบบสถิตย์ เงื่อนไขของความเสียหายจากการล้าในการออกแบบที่คำนึงถึงแรงพลศาสตร์ และแนะนำเกี่ยวกับแนวความคิดของการวิเคราะห์ไฟไนต์เอลิเมนต์

1. วาดฟรีบอดี้ไดอะแกรมของวัตถุแข็งเกร็ง โครงกรอบ และเครื่องจักรกล

2. หาความเครียด ความเค้น และระยะโก่งขององค์ประกอบของเครื่องจักร

3. ประมาณการปัจจัยด้านความปลอดภัยของโครงสร้างย่างง่ายที่มีแรงกระทำแบบสถิตย์ และแรงกระทำซ้ำ

4. หาความต้องการด้านประสิทธิภาพในการเลือกองค์ประกอบของเครื่องจักรที่มีในเชิงพาณิชย์ เช่น เพลา อุปกรณ์รัด สปริง แบริ่ง และเฟือง

5. อธิบายหลักการการวิเคราะห์ไฟไนต์เอลิเมนต์

This course will cover fundamental methodologies for analyzing static and fatigue failure that can be applied to a wide variety of engineering components. Reviewing important material properties in design, such as stress and strength. Practice of materials testing such as tensile test, torsion test, fatigue test and creep test. Transition to static failure theories such as the von Mises theory, which can be utilized to prevent failure in static loading applications. Fatigue failure criteria for designs with dynamic loads and Introduction to Finite element analysis concept

1. Draw Free Body Diagrams (FBD) for rigid bodies, frames, and machines.

2. Determine the stress, strain, and deflection of simple machine elements.

3. Estimate safety factors of simple structures exposed to static and repeated loads.

4. Determine performance requirements in the selection of commercially available machine elements such as shafts, fasteners, springs, bearings, and gears.

5. Descript Finite element analysis concept.